TOP GUIDELINES OF สงครามในพม่า

Top Guidelines Of สงครามในพม่า

Top Guidelines Of สงครามในพม่า

Blog Article

“ซูเปอร์แอป” สร้างยากแค่ไหน ทำไมนักพัฒนาฯ กังวลความสามารถรัฐ

แนะนำติชม แจ้งปัญหาการใช้งานร่วมงานกับเรา

พบพระ ได้จัดพื้นที่พักพิงชั่วคราวให้ที่วัดบ้านหมื่นฤาชัย

การที่มินอ่องลายเชิญกองกำลังชาติพันธุ์ต่างๆ มาพูดคุยในการเจรจาสันติภาพ เป็นหลักฐานอีกชิ้นหนึ่งที่ชี้ให้เห็นว่ากองทัพพม่ากำลังตกอยู่ในอันตราย ในช่วงที่พม่าปกครองด้วยระบอบทหารตลอดหลายสิบปี กองทัพพม่ามักจะพยายามเจรจาเพื่อบรรลุ "ข้อตกลงหยุดยิง" อยู่บ่อยครั้ง เมื่อเผชิญกับอุปสรรคในการสู้รบกับกองกำลังชาติพันธุ์ บางครั้งกองทัพจะเริ่มพูดคุยกับกองกำลังชาติพันธุ์หนึ่ง เพื่อให้ไพร่พลมีอิสระในการเปิดฉากโจมตีอีกกองกำลังชาติพันธุ์หนึ่ง ถึงที่สุดแล้ว กองทัพพม่าจะผิดสัญญาข้อตกลงทั้งหมด ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจที่กองกำลังชาติพันธุ์ส่วนใหญ่ปฏิเสธคำเชิญของมินอ่องลาย

รัฐกะเหรี่ยงอยู่ใกล้กับนครย่างกุ้งซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเมียนมา และเป็นเส้นทางที่ดีที่สุดหากต้องการเดินทางไปยังชายแดนไทย ส่งผลให้รัฐกะเหรี่ยงกลายเป็นจุดหมายปลายทางยอดนิยมสำหรับผู้เห็นต่างที่ต้องการหลบหนีการปราบปรามอันโหดเหี้ยมของกองทัพเมียนมา หลังการรัฐประหารครั้งล่าสุด

ประชาไท / บทความ / การเมือง / สิทธิมนุษยชน / ต่างประเทศ

ชะตากรรมเมืองสแกมเมอร์ทุนจีนติด อ.แม่สอด หลัง "กะเหรี่ยงบีจีเอฟ" แปรพักตร์จากรัฐบาลเมียนมา

“จีน” รู้ดีว่า พม่าเป็นประเทศที่มีกลุ่มชาติพันธุ์มากมาย ชาติติดพัน เป็นไปไม่ได้ที่จะมีกลุ่มอำนาจเดียวปกครองพม่าได้ เพราะแต่ดั้งแต่เดิมพม่าก็ปกครองแบบ “สหภาพ” อยู่แล้ว

ทหารเมียนมาสู้รบเคเอ็นยูบานปลาย ไทยยืนยันไม่มีผลกระทบ

ผู้เชี่ยวชาญเชื่อมาตรการลงโทษเมียนมาขณะนี้ยังไม่เพียงพอ 

คำบรรยายวิดีโอ, "อารยะขัดขืน" ต้านยึดอำนาจในเมียนมา

“ยอมรับว่ากองทัพเมียนมาสูญเสียพื้นที่ควบคุมที่อยู่ทางตอนบนของรัฐกะเหรี่ยงไปมากแล้ว และกำลังส่งผลต่อศักยภาพปฏิบัติการทางทหารของกองทัพภาคตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งมีศูนย์บัญชาการอยู่ที่เมืองมะละแหม่ง ประกอบด้วยแม่ทัพภาคและศูนย์บัญชาการพิเศษ แต่ยังไม่ได้ส่งผลต่ออำนาจควบคุมหรือยุทธการรบของกองทัพพม่าในภาพรวม ต้องดูว่าแม่ทัพภาคที่ประจำอยู่มะละแหม่งจะแก้เกมอย่างไร หรือส่วนกลางจากเนปิดอว์จะส่งความสนับสนุนเช่นไร” ผู้เชี่ยวชาญด้านกองทัพเมียนมาจาก ม.ธรรมศาสตร์ กล่าว

ชาวเมียนมาจำนวนมากเล็งลงหลักปักฐานในไทย หวังเลี่ยงความขัดแย้งในบ้านเกิด

นโยบายของอาณานิคมนั้นได้ใช้ที่ราบลุ่มแม่น้ำเป็นแหล่งผลิตข้าว ส่วนพื้นที่หุบเขารอบ ๆ ไม่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำหรับอังกฤษ อังกฤษปกครองพม่าตอนกลางโดยตรง ส่วนเขตชายแดนที่เป็นที่อยู่ของชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ อังกฤษปกครองโดยอ้อม การปกครองแบบนี้ส่งผลต่อปัญหาทางการเมืองในพม่ายุคหลังอาณานิคม ใน พ.

Report this page